ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ 'ป้ายกรุงเทพ' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ 'ป้ายกรุงเทพ' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

หลังจากเมื่อวานนี้ 29 พ.ค. 67 กรุงเทพมหานคร ได้แปลงโฉมคานรางรถไฟฟ้า เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์ค “ป้ายกรุงเทพ” โดยใช้ฟอนต์อัตลักษณ์ “เสาชิงช้า“ แถมยังให้ประชาชนดาวน์โหลดฟรี อีกด้วย งานนี้ทำเอาชาวเน็ตทำมีมล้อ แซวป้ายใหม่ ในหลายรูปแบบ ล่าสุด ติดสติกเกอร์อีกด้านเป็นสีชมพู

เมื่อวานนี้ 29 พฤษภาคม 2567 กรุงเทพมหานคร ได้แปลงโฉมคานรางรถไฟฟ้า เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์ค “ป้ายกรุงเทพ” โดยใช้ฟอนต์อัตลักษณ์ “เสาชิงช้า“ แถมยังให้ประชาชนได้ดาวน์โหลดฟรี อีกด้วย งานนี้ทำเอาชาวเน็ตทำมีมล้อ แซวป้ายใหม่ ในหลายรูปแบบ

ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

โดยนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่ากรุงเทพมหานคร กล่าวว่า “ความเปลี่ยนแปลงนี้อาจเป็นความเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ ที่ไม่ได้มีผลกับชีวิต แต่ก็เป็นรายละเอียดของเมือง ดังนั้น หากใครว่างหรือผ่านไปสามารถไปถ่ายรูปเป็นที่ระลึกไว้ได้”

ล่าสุด ติดสติกเกอร์อีกด้านเป็นสีชมพู

ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

รวมมีมล้อ "ป้ายกรุงเทพ"

ภาพจากเพจเฟชบุ๊ก InnovestX
 

ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ภาพจากเพจเฟชบุ๊กกรุงเทพมหานคร
ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ภาพจากเพจเฟชบุ๊ก ขอบสนาม
ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ภาพจากเพจเฟชบุ๊ก Bar B Q Plaza
ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ภาพจากเพจเฟชบุ๊ก Netflix
ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ภาพจากเพจเฟชบุ๊ก Lotus's - โลตัส
ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

ขยี้ไม่หยุด! ชาวเน็ตทำมีมล้อ \'ป้ายกรุงเทพ\' เปลี่ยนสติกเกอร์แลนมาร์คใหม่

สำหรับฟอนต์ที่ใช้ ชื่อว่า “เสาชิงช้า”

กทม.ได้มีการออกแบบและเริ่มนำฟอนต์เสาชิงช้ามาใช้ในการสื่อสารผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ปลายปี 2566  โดยทุกหน่วยงานในสังกัด กทม. ได้จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ที่เป็นอัตลักษณ์ รวมถึงการใช้สีหลักคือสีเขียวมรกตที่นำมาใช้บ่อยที่สุด และสีรองอีกหลากหลายสีที่ใช้ในการออกแบบตกแต่ง การวางโลโก้  กราฟิก การออกแบบภาพ ฯลฯ

ซึ่งได้กำหนดไว้ในคู่มือการใช้อัตลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร และนำไปปรับให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละชิ้นงาน  โดยประชาชนจะได้เห็นตัวอักษรเสาชิงช้าบ่อยขึ้นตามสื่อต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ไม่ว่าจะเป็น ป้าย  สื่อวิดีทัศน์ สิ่งพิมพ์  สื่อออนไลน์  รวมทั้งของที่ระลึกต่าง ๆ ด้วย

สำหรับผู้สนใจจะนำฟอนต์เสาชิงช้าไปใช้ในการออกแบบข้อความต่าง ๆ สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี ที่ www.pr-bangkok.com  (เมื่อเข้าไปที่ลิงค์แล้วให้เลือกที่ “ดาวน์โหลด และเลือกที่ “ฟอนต์ Sao Chingcha”)