รีไซเคิล “กล่องเครื่องดื่ม” สร้างสังคมสีเขียว
โลกเปลี่ยน ผู้คนเปลี่ยน เทคโนโลยีทำให้โลกหมุนเร็ว พร้อมกับความคาดหวังเรื่องสิ่งแวดล้อม เกิดเป็นกระแส Sustainable มีข้อกฎหมายโดยเฉพาะในยุโรป ขณะเดียวกัน ไทยก็เริ่มมีการออกกฎบังคับมากขึ้นให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs)
“เต็ดตรา แพ้ค” ในฐานะผู้นำด้านโซลูชั่นการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหารชั้นนำของโลก ได้เน้นย้ำแนวทางสู่ความยั่งยืนที่ครอบคลุมห่วงโซ่มูลค่าทั้งหมดของบริษัท รวมถึงความสำคัญของความเชื่อมโยงกันของประเด็นในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และความท้าทายด้านเศรษฐกิจในการสร้างอนาคตที่ยั่งยืนมากขึ้น โดย 3 แนวคิดหลัก ได้แก่ การปกป้องอาหาร (Food) ผู้คน (People) และอนาคต (Future)
สุภนัฐ รัตนทิพ ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จำกัด อธิบายว่า การ “ปกป้องอาหาร (Food)” คือ การทำให้อาหารปลอดภัยโดยใช้โซลูชั่นการผลิตและบรรจุภัณฑ์ สร้างห่วงโซ่ที่ยั่งยืนร่วมกับภาครัฐ เอกชน 56 ประเทศทั่วโลก จัดทำโครงการนมโรงเรียน จัดตั้งโครงการศูนย์รวบรวมนม (Dairy Hubs) เชื่อมระหว่างฟาร์มโคนมขนาดเล็กและผู้ผลิตนมรายใหญ่ รับนม 389,470 ลิตร ทุกวันจากเกษตรกรโคนมรายย่อย 36,420 ราย ที่เข้าร่วมโครงการ มีเด็กได้รับประโยชน์กว่า 68 ล้านคน
ถัดมา คือ “ปกป้องคน (People)” โดยเพิ่มพูนทักษะพนักงาน ส่งเสริมการเติบโต สนับสนุนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความเท่าเทียม มีผู้บริหารระดับสูงที่เป็นผู้หญิงเพิ่มขึ้น 14% และลดการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดทำงานในพื้นที่การปฎิบัติงานลงถึง 8%
อีกหนึ่งแนวคิดที่สำคัญ คือ “การปกป้องอนาคต (Future)” เพื่อความยั่งยืนของโลกและความสำเร็จในระยะยาวของลูกค้า ด้วยระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนแบบคาร์บอนต่ำ ส่งเสริมความยั่งยืนตลอดทั้งห่วงโซ่มูลค่า โดย “แนวทางแบบองค์รวมเพื่อการหมุนเวียนทรัพยากร” เริ่มตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการรวบรวมเพื่อรีไซเคิล
สำหรับ “ด้านวัตถุดิบ” เป้าหมาย คือการใช้วัตถุดิบที่ทดแทนได้จากพืชให้มากที่สุดในการผลิตกล่อง โดยกล่องเครื่องดื่ม มีส่วนประกอบจาก กระดาษราว 75% ซึ่งมาจากป่าปลูกเชิงพาณิชย์ สามารถนำกลับไปรีไซเคิลได้ ถัดมา คือ PE สำหรับเชื่อมกล่องราว 20% (ปัจจุบันมีการพัฒนา Bio Based PE ซึ่งทำมาจากชานอ้อยทดแทน) และ 5% เป็นอลูมิเนียมฟอยล์ ซึ่งบริษัทกำลังพยายามหาวัตถุดิบมาทดแทน เพื่อตอบโจทย์ การหมุนเวียนทรัพยากรได้ 100%
“ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์” เป้าหมายคือ สามารถนำกล่องเครื่องดื่มกลับมารีไซเคิลได้ทั้งหมด สามารถเพิ่มสัดส่วนของทรัพยากรทดแทนได้ รวมถึงใช้โพลิเมอร์และกระดาษรีไซเคิลในวัสดุบรรจุภัณฑ์ทั้งหมด โดยไม่ลดมาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร พัฒนานวัตกรรมที่แก้ปัญหาการทิ้งขยะ เช่น กลไกการเปิดฝาที่ไม่สร้างขยะ และส่งเสริมการออกแบบให้รีไซเคิลได้ง่าย
“ด้านการรวบรวมและรีไซเคิล” มุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการจัดเก็บและการรีไซเคิลมาเป็นเวลาหลายปี โดยลงทุนกว่า 23 ล้านยูโรในช่วงปี 2555-2562 สร้างพันธมิตรที่มีศักยภาพทั้งในระดับประเทศภูมิภาคและทั่วโลก ผลลัพธ์ที่ได้คือสามารถช่วยเพิ่มจำนวนโรงงานรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่มจาก 40 แห่งในปี 2543 มาเป็น 170 กว่าแห่งในปัจจุบัน ส่วนประเทศไทยมีโรงงานรีไซเคิลกล่องกระดาษทั้งสิ้น 3 แห่ง
“ต้องคิดว่าเมื่อกล่องถูกบริโภคเรียบร้อย ทำอย่างไรให้กล่องถูกดึงกลับเข้ามาสู่กระบวนการรีไซเคิลเยอะที่สุด เป็นสิ่งสำคัญและมีความท้าทายพอสมควร แต่เราต้องทำให้ได้และเกิดขึ้นจริง ต้องให้ความสำคัญตั้งแต่วัตถุดิบมาจากไหน ออกแบบอย่างไร และกลับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้อย่างไร เป็นสิ่งที่บริษัทฯ ยึดถือตลอดมา”
ทั้งนี้ การดึงกล่องเครื่องดื่มใช้แล้วเข้าระบบรีไซเคิล ดำเนินผ่านโครงการต่างๆ ได้แก่ โครงการเด็กไทยหัวใจรีไซเคิล รวมกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รณรงคกับโรงเรียน 700 แห่ง ใน 12 จังหวัด รวบรวมกล่องเครื่องดื่มใชแลว 8 ตัน หรือ 8 ล้านกลอง ในป 2549 - 2550
โครงการหลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก รวมกับ มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย บิ๊กซี และรายการทีวี 360 องศา รวบรวมกลองเครื่องดื่มจำนวน 2,300 ตัน หรือ 230 ล้านกลอง ส่งมอบแผ่นหลังคาใหกับ ผูประสบภัยและชุมชนตางๆ กวา 65,000 แผน ในกวา 20 จังหวัด นับตั้งแตป 2553 เป็นต้นมา
โครงการแจวรักษโลก รวมกับ ชอง 3 รวบรวมกล่องเครื่องดื่มใชแลวได 208 ตัน หรือ 21 ล้านกลอง ในป 2551 นำไปผลิตเปนสมุดจด กวา 4.16 แสนเลม และชุดโตะ-เกาอี้นักเรียน จำนวน 6,240 ชุด บริจาคใหแกโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
โครงการกลองยูเอชทีรีไซเคิลได รวมกับ บริษัทผูผลิตบรรจุภัณฑและหนวยงาน ภาครัฐในทองถิ่น เก็บรวบรวมกลองเครื่องดื่มใชแลว จำนวน 2,300 ตันหรือ 230 ล้านกลอง มาตั้งแตป 2559 ใน 13 จังหวัด และ โครงการรีไซเคิลกลองนมโรงเรียน รวมกับ พันธมิตรในอุตสาหกรรม และ กทม. 30 เขต 350 โรงเรียนสังกัด กทม. รวบรวมกลองเครื่องดื่มใชแล้วไดกวา 77 ตัน หรือ กวา 7.7 ล้านกลอง ในป 2562
ปัจจุบัน บริษัทฯ มีการใช้พลังงานหมุนเวียนกว่า 69% ในการดำเนินงาน โดยในปีที่ผ่านมา มีการรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่มของเต็ดตรา แพ้ค มากกว่า 5 หมื่นล้านกล่อง ลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 10 ล้านตัน ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์จำนวน 3,076 แผง บนหลังคาโรงงาน จ.ระยอง สร้างพลังงานไฟฟ้าทดแทนได้ 1,350 เมกะวัตต์ชั่วโมง ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าปีละ 850 ตัน สามารถสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติที่ 6, 7, 9, 12, 13 และ 15 ได้อย่างเป็นรูปธรรม
- 3 โรงงาน รีไซเคิลกลองกระดาษ
ประเทศไทย มีโรงงานรีไซเคิลกล่องกระดาษ 3 แห่ง ได้แก่ “บริษัท ไฟเบอรพัฒน จำกัด” จ.สมุทรปราการ ก่อตั้งป 2548 ทำการรีไซเคิลกลองเครื่องดื่มผลิตเปนเยื่อกระดาษรวมทั้ง แปรรูปเศษโพลีเอททีลีนและอลูมิเนียมที่เหลือจากกระบวนการแยกเยื่อเปนแผนหลังคา โดยมีกำลังการผลิตอยูที่ 24,000 ตัน รับซื้อกลองเครื่องดื่มใชแลวจากเครือขายตัวแทนรับซื้อเศษวัสดุทั่วประเทศและรวมสนับสนุนในโครงการรีไซเคิลตางๆ ในป 2562 รีไซเคิลกลองเครื่องดื่มไปกวา 6,700 ตัน
“โรงงานกรีนบอรด (ประเทศไทย)” จ.ปทุมธานี เปนผูผลิตแผนกระดานทำจากกลองเครื่องดื่มใชแลวทั้งกลองที่นำมาตัดยอยและเขาเครื่องอัดรอนที่อุณหภูมิสูงกลายเปนแผนไมกระดาน คุณภาพสูง ใชในอุตสาหกรรมหลากหลายตั้งแตการก่อสราง ตกแตงภายใน พื้น และผนัง ในป 2562 โรงงานไดรีไซเคิลกลองเครื่องดื่มราว 150 ตัน
“โรงงาน เอส.พี. เปเปอร” กอตั้งในป 2544 ดำเนินธุรกิจการกรอและตัดกระดาษน้ำตาล จำหนายแกนกระดาษใชแล้วและกระดาษรีไซเคิลตางๆ ในป 2560 โรงงานไดขยายธุรกิจตอบโจทย์สิ่งแวดล้อมโดยก่อตั้งธุรกิจรีไซเคิลกลองเครื่องดื่มใชแลวใหเป็นแผนชิพบอรด มีกำลังการรีไซเคิลอยูที่ 900 ตันตอป ในปี 2562 ขยายกำลังการผลิตเป็น 2,000 ตันต่อ